วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคารที่17 กุมภาพันธ์ 2558
ครั้งที่ 6 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 11:30-17:30



การสอนเด็กพิเศษและปกติ

ทักษะของครูและทัศนคติ
การฝึกเพิ่มเติม เนื่องจากครูปฐมวัยเป็นผู้ไม่เชี่ยวชาญด้านเฉพาะเด็กพิเศษโดยตรงอย่างยิ่งต้องฝีกเพิ่มเติม เช่นการฝึกอบรมระยะสั้น การสัมมนา เพื่อให้ครูได้รู้เทคนิคการสอนดูแลเด็กพิเศษ

เข้าใจภาวะปกติ
เด็กเหมือนกันมากกว่าที่ะแตกต่างกัน ครูต้องเรียนรู้ มีปฎฺสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ ครูต้องรู้จักชื่อเด็กทุกคนต้องมองเด็กให้เป็น



การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
- การเข้าใจพัฒนาการเด็ฏจะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคน
-ครูต้องมองเด็กให้ออกให้ความสำคัญท่าเทียมกันทุกคน


ความพร้อมของเด็ก
- วุฒิภาวะ เด็กที่อายุเทา่กันจะมีวุฒภาวะใกล้เคียงกัน
- แรงจูงใจ เด็กแต่ละคนจะมีแรงจูงใจต่างกัน
- โอกาส เมื่ออยู่ในห้องเรียนเด็กจะมีโอกาสเท่าเทียมกัน


การสอนโดยบังเอิญ
วิธีการสอนนี้เป็นวิธีที่ใช้ได้ดีกับเด็กพิเศษมาก โดยาหรสอนแบบนี้เด็ฏจะเป็นฝ่ายเข้ามาหาครูยิ่งเด็กเช้ามาครูากเท่าไหร่ยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขี้นเท่านั้นดังนั้นครูต้องพร้อมที่จะพบเด็กมีความสนใจเด็ก มีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก มีอุปกรณฺฺ์และกิกจรรมล่อเด็ก มีความตั้งใจจริงที่จะช่วยให้เด็กมีความรู้

อุปกรณ์
สื่อที่ดีสำหรับห้องเรียนร่วมสำหรับเด็กปฐมวัยต้งอเป็นสื่อที่ไม่แบ่งแยกเพศเล่นได้ทั้งหญิงและชายเป็นสื่อที่มีลักษณะง่ายๆ



ทัศนคติของครู

ความยืดหยุ่น 
- รุ้จักชักแก้ปัญหาเฉพราะหน้า เช่น การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถาการณ์
- ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
- ครูต้องตอบสนองเป้าหมายที่มำคัญที่สุดสำหรับเด็ก

การใช้สหวิทยากร
- ครูต้องใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่นๆ
- สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกิจกรรมในห้องเรียน ควรแฝงกิจกรรมบำบัดเข้าไปสอนเด็กเช่น กิจกรรมร้องเพลง 


แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
ความสนใจของผุ็ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นมีความสำคัญมากมีแนวโน้มที่จะเพิ่พฤติกรรมที่ดีของเด็กและมักเป็นผลในทันทีหากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมนั้นก็จะหายไปเรื่อยๆ


วิธีการแสดงออกจากแรงเสริมผู้ใหญ่
- ตอบสนองด้วยวาจา
- การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
- พยักหน้า รับยิ้ม
- สัมผัสทางกาย กอด สัมผัส ลูบหัว
- ให้ความช่วยเหลือและร่วมกิจกรรมกับเด็ก


หลักการให้แรงเสริมเด็กปฐมวัย
- ครูต้องให้ต้องเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์เสริมแรงเฉพาระสิ่งที่จำเป็นเท่านั้น
- ครูต้อละเว้นความสนใจทันทีและเด็กทุกครั้งที่เด็กแสงดพฤติกรรมอันพึงประสงค์
- ครูควรให้ความสนจเด็กนานเท่าพฤติกรรมที่พึงประสงค์

















วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วิชา การจัดประสบการณ์แบบวิชาเรียนร่วม
วันอังคารที่10 กุมภาพันธ์ 2558
ครั้งที่5 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 11:30-17:30


 Happy Birth day





กิจกรรมถุงมือ
วันนี้อาจารย์มีกิจกรรมทำถุงมือสีขาวพร้อมกับกระดาษA4 ให้นักศึกษาวาดรูปมือของตัวเองโดยมีกติกาว่าให้วาดรุปมือตัวเองที่ใส่ถุงมือลงไปแล้วให้วาดให้เหมือนที่สุด




กิจกรรมเปรียบเทียบได้กับการบันทึกพฤติกรรมเด็กของคุณครูเมื่อยู่กับเด็ฏปฐมวัยเห็นเด็กอยู่ทุกวันต่ไม่เคยบันทึกพฤติกรรมของเด็กอย่างสมำ่เสอมในทุกๆครั้งแต่พอถึงเวลาบันทึกพฤติกรรมของเด็กทั้งหมดในครั้งเดียวเป็นไปได้ยากที่คุณครูจะบันทึกได้อย่างละเอียดทั้งหมดแต่ถึงแม้จะบันทึกได้ก็คงไม่ต้องกับความจริงและอาจคลาดเคลื่อนได้ ดังนั้นสิ่งสำคัญของครูปฐมวัยควรบันทึกพฤติกรรมเด็กทุกครั้ง สิ่งที่ตัวคุณครูต้องมีติดตัวคือสมุดสำหรับบันทึกพฤติกรรมเด็ก



กิจกรรมร้องเพลง

ผู้แต่ง อ.ศรีนวล รัตนสุววรณ
เรียบเรียง อ.ตฤน แจ่มถิ่น


        เพลง ฝึกกายบริหาร

ฝึกกายบริหารทุกวันร่างกายแข็งแรง
ฝึกกายบริหารทุกวันร่างกายแข็งแรง
รูปทรงสมส่วนคล่องแคล่ว่องไว
รูปทรงสมส่วนคล่องแคล่วว่องไว 





    เพลงผลไม้

ส้มโอ แตงโม แตงไทย
ลิ้นจี่ ลำใย องุ่น พุทรา
เงาะ ฝรั่ง มังคุด
กล้วย ละมุด น้อยหน่า
ขนุน มะม่วง นานาพันธุ์  





     เพลง กินผักกัน

กินผักกันเถอะเรา
บวบ ถั่วฝักยาว ผักกาดขาว แตงกวา
คะน้า กว้างตุ้ง ผักบุ้ง โหระพา 
มะเขือเทศสีดา ฟังทอง กะหล่ำปี                                 





























                                                                                             
                                                                                              เพลง ดอกไม้

                                                                                     ดอกไม้ต่างพันธุ์ สวยงามสดสี
                                                            เหลือง แดง ม่วงมี แสด ขาว ชมพู

                                               



เพลง จ้ำจี้ดอกไม้

จ้ำจี้ดอกไม้ ดาวเรือง หงอนไก่
จำปี จำปา มะลิ พิกุล
กุหลาบ ชบา บานชื่น กระดังงา
เข็ม แก้ว ลัดดา เฟื่องฟ้า ราตรี


เพิ่มคำอธิบายภาพ




ประเมินตนเอง

: สัปดาห์นี้สนุกมากได้เซอร์ไพร์อาจารย์ ทำกิจกรรมวาดรูปมือสนุกในห้องเรียนเต็มไปด้วยคววามอบอุ่น

ประเมินเพื่อน

:เพื่อนตั้งใจทำเซอร์ไพร์ให้อาจารย์กันทุกคน ตั้งใจทำกิจกรรมในห้องเรียนแล้วยังมีการแสดงหน้าออกให้อาจารย์ได้มีความสุขด้วย

ประเมินอาจารย์

:อาจารย์น่ารักใจดี พยายามอธิบายให้เราเข้าใจเกี่ยวกับวิชานี้แถมยังมีกิจกรรมสุกๆเกือบทุกคาบมาให้พวกเรา


บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

วิชา การจัดประสบการณ์กาศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคาร ที่3 กุมาพันธ์ 2558
ครั้งที่4 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14:10-17:30


สัปดาห์นี้ไม่มีการรเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ไปเป็นวิทยากรอาจารย์ได้สั่งงานให้นักศึกษาเคลีย Blogger ให้เป็นปัจจุบันและแทบลิงค์ข้างให้เรียบร้อย





   

วันจันทร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

วิชา การจัดประสบการณ์แบบเรียนร่วม
วันอังคารที่ 27 มากราคม 2557
ครั้งที่ 3 กลุ่ม103  ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14:10-17:30 น.




รูปแบบการจัดการศึกษา 

    การศึกษาปกติทั่วไป (Regular Education) 
การศึกษาพิเศษ (Special Education)
       การศึกษาแบบเรียนร่วม (lntegrated Education)
      การศึกษาแบบเรียนรวม (lnclusive Education)


การศึกษาแบบเรียนร่วม 
(lntegrated Education / Mainstreaming)

 - เป็นการจัดให้เด็กพิเศษเข้าไปในระบบการศึกษาทั่วไป 
(หลักสูตรเหมือนเดิมไม่เปลี่ยน)
 - มีกิจกรรมที่ให้เด็กพิเศษทำร่วมกันกับเด็กปกติทั่วไป
 - ใช้ช่วงเวลาช่วงใดช่วงหนึ่งในแต่ละวัน
 - ครูปฐมวัยและครูการศึกษาพิเศษทำงานร่วมกัน 
(ครูพิเศษเป็นครูที่มาจากโรงเรียนเฉพาะทางของเด็กพิเศษ)

การเรียนร่วมบางเวลา (lntegration)
(เข้าไปเรียนแค่ ช่วงใดช่วงหนึ่ง)

- เด็กพิเศษมีโอกาสได้แสดงออกและมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กปกติ
- เด็กพิเศษที่มีความพิการระดับปานกลางถึงระดับมากจึงไม่อาจ
  เรียนร่วมเต็มเวลาได้
- เด็กพิเศษทำกิจกรรมการเคลื่อนไหวได้ง่ายและเป็นกิจกรรมยอดฮิต

 การเรียนร่วมเต็มเวลา (Mainstreaming)
  (เรียนตั้งแต่เช้าถึงเย็น)

- เป็นการจัดให้เด็กพิเศษเรียนในโรงเรียนปกติตลอดเวลาที่เด้กอยู่ในโรงเรียน
- เด็กพิเศษได้รับการจัดกระบวนการการเรียนรู้และบริการนอกห้องเรียนเหมือนเด็กปกติ
- ระดับอาการระดับน้อยหรืออาจจะปกติในระดับใดระดับหนึ่ง

ความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม (lnclusive Education)

- รับเด็กเข้าเรียนร่วมตั้งแต่เริ่มเข้าการศึกษา 
- จัดให้มีความต้องการพิเศษตามความต้องการของบุคคล
- เด็กพิเศษจะไม่ได้สังกัดอยู่ในความดูแลของศูนย์พิเศษ

Wilson,2007

- การจัดการเรียนการสอนที่ยึดปรัชญาของการอยู่รวมกันเป็นหลัก
- การสอนที่ดีเป็นการสอนที่ครูกับนักเรียนช่วยกันให้ทุกคนเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน




สรุปความหมายของการศึกษาแบบเรียนรวม


- ครูควรเปิดโอกาสเข้าใจเด็กและไม่ปิดกั้นอย่าตัดสินใจถ้ายังไม่ได้สัมผัสเด็ก
- เป็นการจัดการเรียนการสอนที่จัดให้เด็กพิเศษเข้าเรียนกับเด็กปกติทั่วไปโดยรับเข้ามาเรียนรวม
   กัน
- เด็กพิเศษทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาได้ถ้าได้รับโอกาสในการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับความ
  ต้องการพิเศษของเขา
- เด็กเลือกโรงเรียนไม่ใช่โรงเรียนเลือกเด็ก (โรงเรียนทั่วไปไม่รับเด็กพิเศษเข้าเรียนนอกจากโรงเรียนเรียนรวม)
- ทุกคนยอมรับว่ามีผู้พิการอยู่ในสังคมและเขาเหล่านั้นต่างก็เป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่จะต้องใช้ชีวิตร่วมกันกับคนปกติได้





เด็กพิเศษที่เรียนด้วยกัน 

ข้อดีคือ ไม่ถูกเปรียบเทียบ ไม่กดดันเพราะคิดว่าเราไม่ต่างกัน
ข้อเสียคือ ปรับตัวยากไม่มีการกระตุ้นให้เด็กมีความพัฒนา อยู่รวมกับผู้อื่นและคนในสังคมไม่ได้




ดอกชบา






ความรู้สึกในการวาดดอกชบา แทนความหมายคือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราทำมันออกมามันล้วนมากจากความรู้สึกของเราเองทั้งนั้น


ประเมินตนเอง

   เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนจดบันทึกเพิ่มเติมที่อาจารย์บอกและตั้งใจวดรูปดอกชบา ไม่ค่อยตั้งใจฟังและคุยบ้างช่วงหลังจากที่อาจารย์ให้วาดรูปเสร็จและเรียนต่อหนูจะพยายามตั้งใจเรียนให้มากกว่าเดิมนะค่ะอาจารย์

  ประเมินเพื่อน

  เพื่อนเข้าเรียนกันตรงเวลา อาจารย์ได้แจกดาวให้กับคนที่ย้อมผมสีดำเทอมนี้เพื่อนๆๆตั้งใจเรียนกันมากขึ้นและตั้งใจกันทำงานทุกคนอาจจะมีคุยกันบ้างแต่ทุกคนตั้งใจฟังอาจารย์และจดบันทึกเพิ่มเติมกันทุกคน

ประเมินอาจารย์
  อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาทุกครั้ง แต่งกายสุภาพเรียบร้อย อาจารย์สอนเข้าใจง่ายและมีการยกตัวอย่างการสอนและมีการสอนที่แปลดใหม่ไปจากเทอมที่แล้ว