วันเสาร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคารที่17 กุมภาพันธ์ 2558
ครั้งที่ 6 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 11:30-17:30



การสอนเด็กพิเศษและปกติ

ทักษะของครูและทัศนคติ
การฝึกเพิ่มเติม เนื่องจากครูปฐมวัยเป็นผู้ไม่เชี่ยวชาญด้านเฉพาะเด็กพิเศษโดยตรงอย่างยิ่งต้องฝีกเพิ่มเติม เช่นการฝึกอบรมระยะสั้น การสัมมนา เพื่อให้ครูได้รู้เทคนิคการสอนดูแลเด็กพิเศษ

เข้าใจภาวะปกติ
เด็กเหมือนกันมากกว่าที่ะแตกต่างกัน ครูต้องเรียนรู้ มีปฎฺสัมพันธ์กับเด็กปกติและเด็กพิเศษ ครูต้องรู้จักชื่อเด็กทุกคนต้องมองเด็กให้เป็น



การคัดแยกเด็กที่มีพัฒนาการช้า
- การเข้าใจพัฒนาการเด็ฏจะช่วยให้ครูสามารถมองเห็นความแตกต่างของเด็กแต่ละคน
-ครูต้องมองเด็กให้ออกให้ความสำคัญท่าเทียมกันทุกคน


ความพร้อมของเด็ก
- วุฒิภาวะ เด็กที่อายุเทา่กันจะมีวุฒภาวะใกล้เคียงกัน
- แรงจูงใจ เด็กแต่ละคนจะมีแรงจูงใจต่างกัน
- โอกาส เมื่ออยู่ในห้องเรียนเด็กจะมีโอกาสเท่าเทียมกัน


การสอนโดยบังเอิญ
วิธีการสอนนี้เป็นวิธีที่ใช้ได้ดีกับเด็กพิเศษมาก โดยาหรสอนแบบนี้เด็ฏจะเป็นฝ่ายเข้ามาหาครูยิ่งเด็กเช้ามาครูากเท่าไหร่ยิ่งมีโอกาสในการสอนมากขี้นเท่านั้นดังนั้นครูต้องพร้อมที่จะพบเด็กมีความสนใจเด็ก มีความรู้สึกที่ดีต่อเด็ก มีอุปกรณฺฺ์และกิกจรรมล่อเด็ก มีความตั้งใจจริงที่จะช่วยให้เด็กมีความรู้

อุปกรณ์
สื่อที่ดีสำหรับห้องเรียนร่วมสำหรับเด็กปฐมวัยต้งอเป็นสื่อที่ไม่แบ่งแยกเพศเล่นได้ทั้งหญิงและชายเป็นสื่อที่มีลักษณะง่ายๆ



ทัศนคติของครู

ความยืดหยุ่น 
- รุ้จักชักแก้ปัญหาเฉพราะหน้า เช่น การแก้แผนการสอนให้เหมาะสมกับสถาการณ์
- ยอมรับขอบเขตความสามารถของเด็ก
- ครูต้องตอบสนองเป้าหมายที่มำคัญที่สุดสำหรับเด็ก

การใช้สหวิทยากร
- ครูต้องใจกว้างต่อคำแนะนำของบุคคลในอาชีพอื่นๆ
- สร้างความสัมพันธ์ระหว่างการบำบัดกิจกรรมในห้องเรียน ควรแฝงกิจกรรมบำบัดเข้าไปสอนเด็กเช่น กิจกรรมร้องเพลง 


แรงเสริมทางสังคมจากผู้ใหญ่
ความสนใจของผุ็ใหญ่ที่มีต่อเด็กนั้นมีความสำคัญมากมีแนวโน้มที่จะเพิ่พฤติกรรมที่ดีของเด็กและมักเป็นผลในทันทีหากผู้ใหญ่ไม่สนใจพฤติกรรมนั้นก็จะหายไปเรื่อยๆ


วิธีการแสดงออกจากแรงเสริมผู้ใหญ่
- ตอบสนองด้วยวาจา
- การยืนหรือนั่งใกล้เด็ก
- พยักหน้า รับยิ้ม
- สัมผัสทางกาย กอด สัมผัส ลูบหัว
- ให้ความช่วยเหลือและร่วมกิจกรรมกับเด็ก


หลักการให้แรงเสริมเด็กปฐมวัย
- ครูต้องให้ต้องเสริมทันทีที่เด็กมีพฤติกรรมอันพึงประสงค์เสริมแรงเฉพาระสิ่งที่จำเป็นเท่านั้น
- ครูต้อละเว้นความสนใจทันทีและเด็กทุกครั้งที่เด็กแสงดพฤติกรรมอันพึงประสงค์
- ครูควรให้ความสนจเด็กนานเท่าพฤติกรรมที่พึงประสงค์

















ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น