วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคาร ที่17 มีนาคม 2558
ครั้งที่ 10  กลุ่ม 103  ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14:10 - 16:40



การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ

ทักษะการช่วยเหลือตัวเอง
เรียนรู้การดำรงชีวิตโดยอิสระให้มากที่สุด
- การกินอยู่
- การเข้าห้องน้ำ
- การแต่งตัว
- กิจวัตรต่างๆในชีวิตประจำวัน



การสร้างความอิสระ

- เด็กอยากช่วยเหลทอตนเอง
- อย่าทำงานตามความสามารถ
- เด็กเลียนแบบการช่วยเหลือตนเองจากเพื่อน เด็กที่โตกว่าและผู้ใหญ่




ความสำเร็จเป็นสิ่งสำคัญ

- การทำด้วยตนเอง
- เชื่อมั่นตนเอง
- เรียนรู้ความรู้สึกที่ดี



หัดให้เด็กทำเอง

- ไม่ช่วยเหลือเกินความจำเป็น
- ผู้ใหญ่มักทำสิ่งต่างๆให้เด็กมากเกินไป




ทักษะการช่วยเหลือตนเอง  อายุ  2-3 ปี




การแต่งกาย




การกินอาหาร




การอาบน้ำและเข้าห้องน้ำ




ทั่วไป

ถอดเสื้อออกได้
- เปลี่ยนเสื้อได้
- อาจเลิกทำได้ง่ายๆ
ต้องการคนช่วยเหลือแต่ก็ร่วมมือดี



- ใช้ช้อนส้อมได้
- แต่ชอบใช้มือและช้อนมากกว่า
- ป้อนอาหารที่ชอบได้เอง
ดื่มน้ำจากแก้วได้

- บอกว่าจะเข้าห้องน้ำโดยไม่ทำเลอะก่อน
- กลั้นปัสสาวะ อุจจาระได้



- เปิดประตูเลื่อนหรือลูกบิดได้
ขึ้นลงบรรไดโดยเกาะราวได้
- เลื่อนเก้าอี้มายืนเพื่อปีนหยิบของ


ทักษะการช่วยเหลือตนเอง  อายุ  3-4 ปี


การแต่งกาย


การกินอาหาร

การอาบน้ำและข้าห้องน้ำ

ทั่วไป

-ถอดเสื้อได้เรียบร้อย  รวดเร็ว
ใส่เสื้อ  ถอดกระดุม  รูดซิปได้คล่อง
เก็บเสื้อแขวนใส่ตู้ได้




- ใช้ช้อนส้อมได้คล่อง
รินน้ำจากเหยือกใส่แก้วได้
- กินอาหารรวมกับคนในครอบครัวได้

- ชอบอาบน้ำเอง
- เล่นน้ำในอ่างจะไม่ค่อยเลิก
-อาบไม่สะอาด
-ตื่นนอนตอนกลางวันและขอให้พาไปห้องน้ำ

- บอกอายุ เพศ  ชื่อ  นามสกุลตนเองได้
-ทำตามคำสั่ง 2-3อย่างได้
-แยกจากพ่อแม่ไปโรงเรียนได้


ทักษะการช่วยเหลือตนเอง  อายุ  4-5 ปี


การแต่งกาย


การกินอาหาร

การอาบน้ำและเข้าห้องน้ำ       

ทั่วไป

-ร้อยเชือกรองเท้าได้
-ถอดหรือใส่เสื้อได้โดยมีคนช่วย
-บอกด้านหน้า  ด้านหลังของเสื้อได้




-ใช้มีด  ช้อน  ส้อม
-กินอาหารได้เองโดยไม่ต้องป้อน
-ผู้ใหญ่อาจคลุกหรือฉีกเนื้อให้ก่อน

- อาบน้ำ  เช็ดตัวเอง
- เข้าห้องน้ำ  ล้างมือ  ล้างก้นได้

- เล่นกับเพื่อนบ้านเมื่อเรียกก็กลับ
- ทิ้งของเล่นต้องเตือนให้เก็บ
- ช่วยงานบ้าน  เช่น   จัดโต๊ะ  ทิ้งขยะ  ให้อาหารสัตว์


ทักษะการช่วยเหลือตนเอง  อายุ  5-6 ปี


การแต่งกาย


การกินอาหาร

การอาบน้ำและเข้าห้องน้ำ

ทั่วไป

- ผูกเชือกรองเท้าได้ 
- แต่งตัวเองไดทุกขั้น
ช่วยน้องแต่งตัวได้





กินอาหารด้วยช้อนส้อมได้  แต่มักไม่เรียบร้อย
- ไม่ค่อยสระผม
- รู้จักมารยาทในการรับประทานอาหาร

- อาบน้ำ  เช็ดตัวเอง
ไม่ค่อยสระผม
- เข้าห้องน้ำขับถ่ายได้เอง

- ไปโรงเรียน
นำเงินไปใช้ได้เล็กน้อย
- จัดเตียงตนเอง
- เอาเสื้อใช้แล้วใส่ตะกร้า


ลำดับขั้นในการช่วยเหลือตนเอง  ครูต้องย่อยงานให้เด็กเป็นทักษะการช่วยเหลือตนเองออกเป็นขั้นย่อยๆ  เรียงตามลำดับขั้นตอน   เช่น   การเข้าส้วม
  • เข้าไปในห้องส้วม
  • ดึงกางเกงลงมา
  • ก้าวขึ้นไปนั่งบนส้วม
  • ปัสสาวะหรืออุจจาระ
  • ใช้กระดาษขำระเช็ดก้น
  • ทิ้งกระดาษชำระในตะกร้า
  • กดชักโครกหรือตักน้ำราด
  • ดึงกางเกงขึ้น
  • ล้างมือ
  • เช็ดมือ
  • เดินออกจากห้องส้วม
ในการทำกิจกรรมนั้นควรมีการวางแผนและแยกกิจกรรมเป็นขั้นย่อยๆ ให้มากที่สุด






กิจกรรมท้ายคาบ
ทายสีด้วยภาพวงกลม









การประเมิน


ประเมินตนเอง
- มีความมพร้อมในการเรียน ให้ความร่วมมือในการเรียนเป็นอย่างดีทำกิจกรรมอย่างตั้งใจ

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนทำกิจกรรมอย่างสนุกสนาน มีความสุขในการรเียนวิชสนี้ทุกคาบ

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์เตรียมความพร้อมในการสอนมาเป็นอย่างดี เตรียมสื่ออุปกรณ์มาสอนมีกิจกรรมสนุกๆตั้งแต่เริ่มจนถึงหมดคาบ ทำให้เราไม่เบื่อกับการรเรียนชอวิธีการอนแบบนี้มากค่ะ










บันทึกอนุทินครั้งที่ 9


วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคาร ที่10 มีนาคม 2558
ครั้งที่ 9 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14:10 - 16:40




กิจกรรมร้องเพลง





การวัดความสามารถทางภาษา

 วัดความสามรถทางภาษาวัดได้จากที่เด็กเข้าใจสิ่งที่ผู้ื่อนพูด สามารภตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยหรือไม่ไม่ว่าจะเป็นการแสดงออกทางกาย เช่น การพยักหน้า การยิ้ม ส่ายหัวเป็นต้น 
และการแสดงออกทางวาจาด้วยการพูดถามหาสิ่งต่างๆ การบอกเล่นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ไหม การเรียงลำดับเหตุการณ์ในวันนั้นๆ




การออกเสียงผิด/พูดไม่ชั

   - การพูดตกหล่น เช่น จิ้งจกเป็นจก หนัสือเป็นสือ
- การพูดติดอ่าง
- การใช้เสียงหนึ่งแทนที่อีกเสียงหนึ่ง


การปฎิบัติของครูและผู้ใหญ่

ไมาสนใจการพูดซ้ำหรือการออกเสียงไม่ชัดของเด็ก
*ห้ามบอกเด็กว่า  พูดซ้ำๆ    ตามสบาย     คิดก่อนพูด
อย่าขัดจังหวะในขณะที่เด็กพูด เช่นกรณีที่เด็กพูดผิดไม่ควรพูดขัดขึ้นมาอย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่เด็กถนัด  ไม่เปรียบเทียบการพูดของเด็กกับเด็กอีกคน



ทักษะพื้นฐานทางภาษา

- ทักษะการรับรู้
- การแสดงออกทางภาษา
*การสื่อความหมายโดยไม่ใช้คำพูด เด็กพิเศษส่วนมากมักไม่แสดงออกทางร่างกาย สีหน้า ท่าทาง แทนการพูด


ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย

การรับรู้ภาษามาก่อนแสดงออกทางภาษา
ภาษาที่ไม่ใช้คำพูดมาก่อนภาษาพูด
ให้เวลาเด็กได้พูด
ให้เวลาเด็กได้ตอบ
ควรเป็นผู้ฟังที่ดีและตอบโต้อย่างฉับไว
เน้นวิธีสื่อความหมายนอกจากการพูด
ใช้คำถามปลายเปิด
เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไหร่ ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
ร่วมกิจกรรมกับเด็ก


กิจกรรมท้ายคาบ ศิลปะบำบัด








ประโยชน์ที่ได้รับจากกิจกรรม ศิลปะบำบัด

-เพื่อให้เด็กมีสมาธิกับสิ่งที่ทำ
-ฝึกความอดทนกับการสังเกต
-พัฒนาด้านมิติสัมพันธ์
-ได้พัฒนาความคิดสร้าสรรค์



การประเมิน

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจทำกิจกรรม ชอบทำกิจกรรมศิลปะเพราะว่าฝึกสมาธิเราได้และจดจ่อกับสิ่งที่ทำได้ดีมาก มีแอบคุยเล็กน้อย

ประเมินเพื่อน
- สังเกตจากการทำกิจกรรมเพื่อนทุกคนจะเงียบมากในการทำกิจกรรมแล้วตั้งใจทำกิจกรรมาก

ประเมินเพื่อน
- ชอบเทคนิคการสอนของอาจารย์แต่ะลสัปดาห์จะมีกิจกรรมดึงความสนใจดึงให้มีสมธิทุกสัปดาห์แล้วกิจกรรมที่นำมาสนุกสนานมาก


วันจันทร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2558

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคารที่ 3 มีนาคม 2558
ครั้งที่ 8 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14:10-16:40


สัปดาห์นี้อาจารย์มีเกมส์สนุกๆมาให้นักศึกษาเล่นชื่อเกมส์ รถไฟเหาะแห่งชีวิต เพื่อนๆทุกคน
สนุกมีความสุขกับเกมส์นี้มากผ่อนคลายไม่ง่วงนอนเพื่อที่ทุกคนจะได้มีสมาธิในเรื่องที่จะเรียน


การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ
ทักษะเด็กพิเศษมีทั้งหมด 3 ทักษะ

1.ทักษะสังคม
2.ทักษะการสื่อสาร
3.ทักษะช่วยเหลือตนเอง

ทักษะทางสังคม

   สภาพแวดล้อมไม่ได้ส่งผลกระทบมากแต่ขึ้นอยู่ที่ตัวของเด็กเอง ถ้าจัดสภาพ
แวดล้อมดียังไงถ้าเด็กไม่ให้ความร่วมมือก็ต้องปรับที่ตัวน้ิองไม่ใช่ปรับที่สภาพแวดล้่อม


การเล่น ( เล่นแบบเลียนแบบเพื่อน )

  เด็กออทิสติกจะไม่สนใจจะผลักสิ่งที่กีดขว้างทั้งหมด เช่น ถ้ามีกระเป๋าวางอยู่ตรงหน้า
เด็กปกติจะเดินเลี่ยงกระเป๋าหรือยกกระเป๋าออกแต่เด็กออทิสติกกับเด็กสมาธิสั้นน้องจะ
เตะไม่ก็ผลักหรือเดินเหยียบเดินชนนั้นเพราะน้องกำจัดสิ่งกีดขว้างที่อยู่ตรงหน้า
  
   เด็กพิเศษไม่จับกลุ่มเล่นกันเองจะนั่งแยกกันชอบไปเล่นกับเด็กอื่นๆ น้องดาวซินโดม
ไม่เล่นด้วยกัน

ยุทธศาสตร์การสอน ( เด็กพิเศษไม่รู้วิธีการเล่น )

*  ครูต้องสอนเด็กอย่างมีระบบ และจดบันทึกไว้เสมอ

*  IEP เป็นแผนที่เขียนให้เด็กทุกคนได้ไม่จำเป็นต้องเขียนให้เด็กพิเศษ เป็นแผนที่คุณครู
ต้องรู้ลึก รู้จริง รู้ว่าสิ่งไหนควรเพิ่มเติ่มให้สิ่งไหนควรลดลง


 การกระตุ้นการเลียนแบบและการเอาอย่าง 

 การเล่นเป็นกลุ่มควรจับกลุ่มให้เ็ด็กเล่นประมาณ 4 คน เด็กพิเศษ 1 คน เด็กปกติ 3 คน
เด็กพิเศษไม่ควรอยู่ในกลุ่มเกิน 1 คนเพราะมันจะยิ่งยากในการดูแลเด็กพิเศษจะไม่เล่นด้วย
กันเด็กพิเศษจะเลียนแบบการเล่นของเด็กปกติ เด็กปกติเปรียบเสมือนครูของเด็กพิเศษ เช่น
ถ้าเด็กปกติเล่นด้วยกันเป็นกลุ่ม 3 คน คนหนึ่งตีกลอง คนหนึ่งเล่นเบส อีกคนเล่นกีต้าอยู่
คุณครูจูงมือเด็กพิเศษมาให้เล่นกับเพื่อนๆ คุณครูอาจจะบอกว่าเพื่อนเล่นเปียโนเก่งนะให้เพื่อน
เล่นด้วยสิมันจะดูเป็นวงดนตรีที่ดีมากเลยเพื่อที่จะทำให้ดูไม่แตกแยกไปจากเพื่อนๆในกลุ่มและ
ทำให้เพื่อนในกลุ่มยอมให้เล่นด้วย

ครูควรปฎิบัตอย่างไรขณะเด็กเล่น

  ครูควรมีสีหน้าที่ยิ้มแย้มดูเป็นมิตร อบอุ่น ไม่ควรสนใจเด็กคนไหนเป็นพิเศษ ชมเชยได้แต่ไม่
ควรเยอะเกินไปหรือดันทุรังชม ไม่ควรไปยุ่งกับน้องมากเกินไป อยู่ใก้ลๆๆได้ เอาวัสดุมาเพิ่มเพื่อ
ยืดเวลาการเล่น





กิจกรรมบำบัด


อุปกรณ์
1. กระดาษ 1 แผ่น
2. สี 2 สี

กติกาการเล่น
1.จับคู่2คน
2. คนนึงรากเส้น อีกคนจุดวงกลมที่เพื่อนรากเส้น







กิจกรรมร้องเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย


เพลง ดวงอาทิตย์

ยามเช้าตรู่อาทิตย์ทอแสง
เป็นประกายเรืองรอง  ผ่องนภา
ส่องสว่างไปทั่วแหล่งหล้า  บ่องเวลาว่ากลางวัน

เพลง  ดวงจันทร์

ดวงจันทร์ทอแสงนวลใย
สุกใสอยู่ในท้องฟ้า
เราเห็นดวงจันทรา
แสงพราวตาเวลาค่ำคืน  


เพลง  ดอกมะลิ

ดอกมะลิ  กลีบขาวพราวตา
เก็บเอามาร้อยเป็นมาลัย
บูชาพระทั้งใช้ทำยาก็ได้
ลอยในน้ำ  อบขนมหอมชื่นใจ

 เพลง  กุหลาบ

กุหลาบงามก้านหนามแหลมคม
จะเด็ดดมระวังกายา
งามสดสีสมเป็นดอกไม้มีค่า
เก็บเอามาประดับไว้ในเเจกัน

เพลงนกเขาขัน

ฟังสิฟังนกเขาขันมันขยันขันคู
ฟังสิฟังนกเขาขันมันขยันขันคู
จุ๊กกรู  จุ๊กกรู   จุ๊กกรู   จุ๊กกรู  จุ๊กกรู


เพลงรำวงดอกมะลิ

รำวง  รำวง  ร่วมใจ 
หอมดอกมะลิที่ร้อยมาลัย
กลิ่นหอมตามลมไปไกล 
หอมกลิ่นชื่นใจ  จริงเอย 
                                         
                                         ผู้แต่ง : อ.ศรีนวล รัตนสุวรรณ

                                        เรียบเรียง : อ.ตฤน แจ่มถิน





ประเมินตนเอง
- ทำกิจกรรมสนุกสนานตั้งใจทำกิจกรรมในการทำกิจกรรมครั้งนี้

ประเมินเพื่อน
- เพื่อนทุกคนตั้งใจทำกิจกรรมอย่างสนุกสนานร่วมกันตอบคำถามในห้องเรียน

ประเมินอาจารย์
- อาจารย์แต่ละครั้งในการเข้าสอนมักจะมีกิจกรรมอย่างสนุกสนานทำให้บรรยากาศในห้องเรียนสนุกสนานน่าเรียนรู้มากยิ่งขึ้น


บันทึกอนุทินครั้งที่7


วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนร่วม
วันอังคารที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558
ครั้งที่7 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14:00-16:40 



สัปดาห์นี้ไม่มีการเรียนการสอน อยู่ในช่วงสอบกลางภาค